richwave_logo

Uncategorized

วิทยุสื่อสาร แบบไหนที่ใช่สำหรับเรา (สำหรับประชาชนทั่วไปใช้) จะขอแบ่งวิทยุสื่อสารเป็น 3 แบบกันนะคะ 👉วอ 0.5 วัตต์ วอในกลุ่มนี้จะเหมาะกับผู้ที่ใช้งานระยะใกล้ๆ ระยะห่างไม่เกิน 1-2 กิโลเมตร (ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพื้นที่ด้วยนะคะ) และพกพาได้ทันที โดยไม่ต้องจดใบอนุญาต 👉วอ 5 วัตต์ วอในกลุ่มนี้ จะเหมาะกับผู้ที่ต้องการสื่อสารไกลขึ้นมาหน่อยค่ะ ระยะทางจะได้ตั้ง 1-5 กิโลเมตร (ขึ้นอยู่กับพื้นที่) เหมาะกับหลากหลายธุรกิจค่ะ 👉วอ Poc วอในกลุ่มนี้จะเหมาะกับผู้ที่เน้นการสื่อสารไกลแม้อยู่ต่างจังหวัด เหมาะใช้งานในกลุ่มองค์กรที่ต้องการการสื่อสารที่มีความปลอดภัยขั้นสูงสุดค่ะ เอาหล่ะ โพสต์นี้พอจะทำให้ทุกคนสามารถเลือกวิทยุสื่อสารที่ใช่สำหรับตัวเองได้หรือยังน้าา แต่ถ้าเลือกไม่ได้ยังไง ก็สามารถทักหาแอดมินเพจได้เลยนะคะ  

ทำไมถึงไม่ควรซื้อวอผิดกฎหมาย   มองหาวิทยุสื่อสารเครื่องแท้ ต้อง Richwave Communication ค่ะเชื่อว่ามีหลายๆคนที่หลงไปซื้อวอปลอม เพราะไม่รู้ ว่าแบบไหนคือแท้ แบบไหนคือปลอม เพราะวิทยุสื่อสารของปลอม เดี๋ยวนี้ขายไม่ถูกนะคะอย่างแบรนด์ดังๆ เช่น ICxxx ของปลอมเกลื่อนตลอดมากค่ะ ICxx ปลอมราคา 1,xxx คุณภาพไม่ถึง ใช้ไปแปปๆพัง ถึงแม้ว่า ICOM แท้จะคุณภาพสูงแต่ราคาก็จะสูงตามค่ะแต่วิทยุสื่อสารรุ่นอื่นๆ ที่คุณภาพดีๆ แต่ราคาย่อมเยาก็มีน้า ปรึกษาก่อนสั่งซื้อได้ค่า ประชาชนทั่วไป สอบสมัครเล่น วิทยุสื่อสารราชการ ร้านอาหาร/ก่อสร้าง/ออกทริป/และอื่นๆเราก็มีหมด !!

เคล็ดลับง่ายๆ ที่จะช่วยให้ “วิทยุสื่อสาร”ส่งไปได้ไกลขึ้น เคยสงสัยกันไหม ทำไมบางคนเขาใช้ได้ไกลกว่าเรา เราเองก็ทำได้ใครยังไม่เคยลอง ลองทำตามได้ดังนี้ค่ะ  ใช้เสาสไลด์ช่วย เสาสไลด์เป็นอุปกรณ์ที่ดีมากสำหรับวิทยุสื่อสารอย่างหนึ่ง ที่ช่วยเพิ่มระยะสื่อสารได้ (ควรชักเสาให้สุด แล้สค่อยกดปุ่ม PTT เพื่อพูด เพื่อป้องกันตัวเครื่องวิทยุสื่อสารพัง) แบตเตอรี่ “ต้องมีแรงดันไฟเพียงพอ เพราะมีผลต่อกำลังส่ง) อากาศโล่งแจ้งหรือพื้นที่สูง พื้นที่โล่งแจ้งเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ส่งได้ไกลขึ้น สนใจซื้อเครื่องและอุปกรณ์วิทยุสื่อสาร Tel: 062-326-4949   สาขานนทบุรี Line ID : @richwave สนใจสั่งซื้อ-เช่าวิทยุสื่อสารริชเวฟ ยินดีให้คำปรึกษา โดยผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยุสื่อสาร  ประสบการณ์มากกว่า 10 ปี  Contact us

3 วิธีลงทะเบียนออนไลน์เพื่อใบอนุญาต พกพาวิทยุสื่อสารด้วยตนเองง่ายๆได้แล้ว สวัสดีค่ะ วันนี้ Richwave มาขอแชร์  3 วิธี ง่ายๆ “จดใบอนุญาตพกพาวิทยุสื่อสารด้วยตนเองกันค่ะ” ** สำหรับเครื่องแดง ย่านประชาชนเท่านั้นนะคะ 1. ติดต่อ กสทช.ผ่านออนไลน์ได้ที่ Email : saraban@nbtc.go.th   2. ใช้เลข S/N หลังเครื่องวิทยุสื่อสารเพื่อนำไปจดใบอนุญาต (ต้องเป็นเครื่องถูกกฎหมายเท่านั้น ถึงจะมีเลขนี้และจดได้) 3. ใช้สำเนาบัตรประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านผ่านออนไลน์ได้เลยค่ะ สิ่งที่จะต้องเตรียมให้พร้อมเลยคือ ค่าใบอนุญาต 535฿/เครื่อง รวมภาษีแล้วค่ะ แต่จดเพียงครั้งเดียว อายุการใช้งานตลอดชีพเลยค่ะ ** เพียง 3 ขั้นตอนนี้เท่านั้น ง่ายมากๆเลยใช่ไหมคะ** ** แต่หากใครที่ไม่สะดวกจดเองจริงๆ อยากให้ทางร้านจดให้ *** ทางร้านจะมีบริการรับจดให้สำหรับลูกค้าที่ซื้อเครื่องกับเราค่ะ ฟรี! ไม่บวกเพิ่ม เรืองการดำเนินเอกสารค่ะ (แต่ในส่วนของค่าใบอนุญาต ลูกค้าต้องออกเองนะคะ) https://www.nbtc.go.th/ สนใจสั่งซื้อ-เช่า วิทยุสื่อสารริชเวฟ ยินดีให้คำปรึกษา โดยผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยุสื่อสาร …

3 วิธี ง่ายๆ จดใบอนุญาตพกพาด้วยตนเอง Read More »

SWR คืออะไร ค่า SWR คืออะไร ? เสียงเมื่อกดปุ่ม PTT จากเครื่องวิทยุ (ปุ่มกดเวลาส่งสัญญาณ) เสียงพูดจะถูกเปลี่ยนเป็นคลื่นวิทยุ (RF) ที่วิ่งไปตามสายอากาศด้วยความเร็วสูง • คลื่นวิทยุ RF บางส่วนเดินทางถึงสายอากาศ บางส่วนเปลี่ยนไปเป็นความร้อนในสายนำสัญญาณ และข้อต่อต่างๆ คลื่นวิทยุ RF ส่วนใหญ่เดินทางถึงสายอากาศและแพร่กระจายออกไป โดยทั่วไปแล้ว คลื่นวิทยุ RFส่วนใหญ่แพร่กระจายออกไปทางสายอากาศ แต่ RF บางส่วนสะท้อนกลับมาที่เครื่องวิทยุตามสายนำสัญญาณ RF และ แพร่กระจายออกไป และ สะท้อนกลับไปที่เครื่องวิทยุอีกครั้ง การสะท้อนไปมาของ RF ระหว่างเครื่องวิทยุและสายอากาศโดยมีสายนำสัญญาณเป็นเครื่องเชื่อม เกิดขึ้นด้วยความรวดเร็วและต่อเนื่อง และมีพลังงานเกิดขึ้นที่เครื่องวิทยุ • พลังงานจากคลื่นวิทยุที่ส่งออก และ คลื่นวิทยุที่สะท้อนกลับ ซึ่งพลังงานที่เกิดขึ้นจาก คลื่น RF ทั้ง 2 แบบนี้เรียกว่า STANDING WAVE SWR METER เป็น เครี่องวัด ค่าพลังงานนี้ …

SWR คืออะไร Read More »

วิธีการตั้งโทนวิทยุสื่อสาร และ ความหมายของโทน วิธีการตั้งโทนวิทยุสื่อสาร การตั้งโทน หมายถึง การป้องกันคลื่นแทรกจากบุคคลภายนอก ผ่าน code ซึ่งมีอยู่ด้วยกันหลักๆ 2 ประเภท คือโทน CTCSS (Analog) และ DCS (Digital) ตัวอย่าง มีวิทยุสื่อสารทั้งหมด 3 ตัว เครื่อง A ตั้ง โทน CTCSS  67 เครื่อง B ตั้ง โทน CTCSS 67 เครื่อง C ไม่ได้ตั้งโทน เมื่อเครื่อง A กดพูด เครื่อง B และ C จะได้ยิน เมื่อเครื่อง B กดพูด เครื่อง A และ C จะได้ยิน เมื่อเครื่อง C กดพูด เครื่อง …

วิธีการตั้งโทนวิทยุสื่อสาร และ ความหมายของโทน Read More »

ซื้อวิทยุสื่อสาร ต้องขอใบอนุญาตไหม? “ซื้อวิทยุสื่อสาร ต้องจดใบอนุญาตไหม สำหรับวิทยุสื่อสารเครื่องสีแดง?” คำตอบ โดยทั่วไป วิทยุสื่อสาร เครื่องสีแดง หรือ บางคนเรียกว่าเครื่อง CB เป็นวิทยุสื่อสารสำหรับประชาชนทั่วไป ต้องขอใบอนุญาตใช้กับทาง กสทช. หลังจากซื้อวิทยุสื่อสาร มาแล้ว โดยต้องแจ้ง หมายเลขเครื่อง และ NTC ID.เพื่อ ลงทะเบียนกับทาง กสทช. ถึงอย่างไร การจดใบอนุญาตวิทยุสื่อสาร CB245 มี การยกเว้นไม่ต้องใบอนุญาต ถ้าเครื่องวิทยุสื่อสารของผู้ใช้ เป็นวิทยุสื่อสาร ที่มีกำลังส่งต่ำ เช่น Fujtel 5H, Standard C200, Hamtec R-172 สำหรับ วิทยุสื่อสารที่จดทะเบียนไม่ได้ หรือ เรียกกัน เครื่องเถื่อน, icom ปลอม, หรือ วิทยุสื่อสารไม่มี ปท. ไม่ว่าวิทยุสื่อสารจะมีกำลังส่งต่ำ หรือ สูงไม่สามารถนำไปจดทะเบียนได้ และถ้าหาก หน่วยงานรัฐ ตรวจเจอ …

ซื้อวิทยุสื่อสาร ต้องขอใบอนุญาตไหม? Read More »

วิธีดู ICOM แท้ ICOM เถื่อน ICOM ปลอม เนื่องจากในวงการ วิทยุสื่อสาร มีคนเข้าใจ ICOM เถื่อน ICOM ปลอม ว่าเป็นของแท้ จึงขอชี้แจ้ง ICOM ที่ราคา ไม่ถึง 3,000 บาท 99% เป็นของปลอม ข้างในจีน แล้วตีตรา ICOM ผิดดฎหมายทั้ง เครื่องหมายการค้า และ ผิดกฏหมาย กสทช. เครื่องเถื่อน มีโทษหนัก ICOM แท้ สังเกตตามรูปเลยครับ “จะซื้อเครื่อง ICOM โปรดสังเกตสติกเกอร์ Hologram เพื่อให้มั่นใจว่าเป็นของแท้จากโรงงาน ICOM ประเทศญี่ปุ่น” “จะซื้อเครื่อง ICOM โปรดสังเกตสติกเกอร์ Hologram เพื่อให้มั่นใจว่าเป็นของแท้จากโรงงาน ICOM ประเทศญี่ปุ่น” ไม่มี GSR โอกาสไม่แท้สูงแล้วครับ

3 เทคนิคการป้องกันคลื่นแทรก เวลาใช้วิทยุสื่อสาร เบื่อไหมกับปัญหา คลื่นแทรก เวลาใช้วิทยุสื่อสาร ทาง RICHWAVE จะขอแนะนำ 3 เทคนิคง่ายๆ ในการป้องกันคลื่นแทรกเวลาใช้วิทยุสื่อสาร 1. เปลี่ยนช่องการใช้งาน 2. ตั้งโทน (เป็นฟังก์ชั่นในวิทยุสื่อสาร) เป็นวิธีที่ดีที่สุด 3. การตั้งช่องที่แตกต่างจากคนอื่น

ให้เช่าวิทยุสื่อสารป้องกันประกายไฟ วิทยุสื่อสารป้องกันระเบิด ระบบ Trunked Radio (Digital and Analog) สำหรับพื้นที่ ที่ต้องการความปลอดภัย ประเภท สารเคมี อุตสาหกรรมปิโตรเคมี ให้เช่าระบบวิทยุสื่อสารป้องกันประกายไฟ วิทยุสื่อสารป้องกันระเบิด  ระบบ Digital Trunked Radio (ระบบใหม่) 1. วิทยุสื่อสารป้องกันระเบิด และ ป้องกันกระกายไฟ ของเรามีมาตราฐานระดับโลก ด้วย Certification ที่เป็นยอมรับของหลายประเทศ รวมถึงประเทศไทย สามารถใช้งาน และ เป็นที่ยอมรับ ในบริษัท ปิโตรเคมี ระดับแนวหน้าของประเทศไทย ด้วย Certifation ATEX (Atmospheric Explosive) • EU Directive (Commission to European Parliament & Council) • Since 1 July 2003, the …

ให้เช่าวิทยุสื่อสารป้องกันประกายไฟ Read More »